วันศุกร์ที่ 17 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2555

การปรับปรุงพันธุ์พริกยอดสน

การปรับปรุงพันธุ์พริกยอดสน
วัตถุประสงค์ เพื่อปรับปรุงพันธุ์พริกขี้หนูยอดสน ให้ได้พันธุ์ที่มีผลผลิตสูงและคุณลักษณะตรงตามความต้องการของตลาด เหมาะสมกับแหล่งปลูก เพื่อแนะนำ และเผยแพร่สู่เกษตรกรต่อไป
วิธีการ
ปี 2549-2550 การรวบรวม คัดเลือกพันธุ์ และเปรียบเทียบพันธุ์ รวบรวมพริกขี้หนูพันธุ์ยอดสนจากแหล่งปลูกต่างๆ ใน จังหวัดนครราชสีมา มาปลูกเป็นแถว และคัดเลือกพันธุ์แบบสายพันธุ์บริสุทธิ์ (Pure line selection) คัดเลือกพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูง การเจริญเติบโตดี ไม่เป็นโรค ผลสุกสีแดงเข้ม และตรงตามสายพันธุ์ ปี 2550 ปลูกพริกที่คัดเลือกพันธุ์ได้ แบบต้นต่อแถว โดยใช้ระยะปลูก 0.5 x 1.0 เมตร (ระยะต้น x ระยะแถว) และคัดเลือกสายพันธุ์ที่มีลักษณะดี
ปี 2551-2552 การทดสอบพันธุ์ในท้องถิ่น ปลูกเปรียบเทียบผลผลิตระหว่างสถานี โดยปลูกทดสอบพันธุ์ที่ได้กับพันธุ์เกษตรกรในท้องถิ่นต่างๆ ได้แก่ จังหวัดศรีสะเกษ ชัยภูมิ และนครพนม วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block (RCB) มี 4 ซ้ำ มี 9 กรรมวิธี กรรมวิธีประกอบด้วย
            กรรมวิธีที่ 1  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 119-1-3
            กรรมวิธีที่ 2  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 123-1-1
            กรรมวิธีที่ 3  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 127-1-1
            กรรมวิธีที่ 4  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 129-1-1
            กรรมวิธีที่ 5  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 144-1-1
            กรรมวิธีที่ 6  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 165-1-1
            กรรมวิธีที่ 7  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 192-1-2
            กรรมวิธีที่ 8  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 201-1-2
            กรรมวิธีที่ 9  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ของเกษตรกร (พันธุ์เปรียบเทียบ)
เกณฑ์ในการคัดเลือก มีดังนี้
            - ผลสดมีสีเขียวเข้ม ผลสุกสีแดงเข้ม ความกว้างผลน้อยกว่า 1 เซนติเมตร ความยาวผลมากกว่า 5 เซนติเมตร ขั้วผลยาว ผลตรงชี้ขึ้น และพริกแห้งมีผิวผลย่นเล็กน้อย 
            - ผลผลิตสูง มากกว่า 1 ตันต่อไร่ (3,200 ต้นต่อไร่)
            - ต้นสูงมากกว่า 60 เซนติเมตร และจำนวนการแตกกิ่งสูงมากกว่า 10 กิ่ง                  
ปี 2553-2554 ปลูกทดสอบผลผลิตในไร่เกษตรกร วางแผนการทดลองแบบ Randomized Complete Block (RCB) มี 4 ซ้ำ ในเกษตรกร 2 ราย
จังหวัดศรีสะเกษและจังหวัดนครราชสีมา มี 5 กรรมวิธี กรรมวิธีประกอบด้วย         
            กรรมวิธีที่ 1  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 119-1-3
            กรรมวิธีที่ 2  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 123-1-1
            กรรมวิธีที่ 3  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 144-1-1
            กรรมวิธีที่ 4  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 165-1-1
            กรรมวิธีที่ 5  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ของเกษตรกร (พันธุ์เปรียบเทียบ)
จังหวัดชัยภูมิ มี 5 กรรมวิธี กรรมวิธีประกอบด้วย
            กรรมวิธีที่ 1  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 119-1-3
            กรรมวิธีที่ 2  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 129-1-1
            กรรมวิธีที่ 3  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 144-1-1
            กรรมวิธีที่ 4  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ ศก. 165-1-1
            กรรมวิธีที่ 5  พริกขี้หนูยอดสนสายพันธุ์ของเกษตรกร (พันธุ์เปรียบเทียบ)
การทดลองที่ไร่เกษตรกรจังหวัดศรีสะเกษ ทดลองในช่วงฤดูหนาว (หลังนา) ส่วนที่ไร่เกษตรกรจังหวัดนครราชสีมา และจังหวัดชัยภูมิ ทดลองในช่วงฤดูฝน
สรุปผลการทดลอง
พริกยอดสนสายพันธุ์ ศก.119-1-3 และ ศก.165-1-1 เป็นพันธุ์ที่ให้ผลผลิตสูงในแหล่งปลูกพริกยอดสนเป็นการค้า ความสูงต้น ขนาดผล และสีผล มีความสม่ำเสมอ เป็นที่ยอมรับของเกษตรกรมากที่สุด ในฤดูฝน ผลผลิตสดและผลผลิตแห้ง เฉลี่ย 0.29-1.08 และ 0.07-0.26 ตันต่อไร่ ตามลำดับ และในฤดูหนาว (หลังนา) เฉลี่ย 0.83-2.12 และ 0.32-0.69 ตันต่อไร่ ตามลำดับ สายพันธุ์ ศก.119-1-3 มีความเผ็ด 78,020 SHU และ ศก.165-1-1 มีความเผ็ด 124,695 SHU
ตารางแสดง น้ำหนักสดต่อต้น น้ำหนักสดต่อไร่ และน้ำหนักแห้งต่อไร่พริกยอดสนในท้องถิ่นต่างๆ ปี 2552
สายพันธุ์
น้ำหนักสดต่อต้น (กก.)
น้ำหนักสดต่อไร่ (ตัน/ไร่)
น้ำหนักแห้งต่อไร่ (ตัน/ไร่)

ศรีสะเกษ
ชัยภูมิ
นครพนม

ศรีสะเกษ
ชัยภูมิ
นครพนม

ศรีสะเกษ
ชัยภูมิ
นครพนม

ศก.119-1-3
0.661  a
0.180
0.226

2.12 a
0.50
0.72

0.69 a
0.18
-

ศก.123-1-1
0.637  a
0.169
0.287

2.04 a
0.58
0.92

0.55 b
0.21
-

ศก.127-1-1
0.547  a
0.158
0.284

1.75 a
0.54
0.91

0.43 b
0.19
-

ศก.129-1-1
0.571  a
0.204
0.257

1.83 a
0.51
0.82

0.43 b
0.22
-

ศก.144-1-1
0.634  a
0.251
0.306

2.03 a
0.65
0.98

0.51 b
0.21
-

ศก.165-1-1
0.635  a
0.200
0.328

2.03 a
0.80
1.05

0.55 b
0.28
-

ศก.192-1-2
0.306  b
0.169
0.321

0.98 b
0.64
1.03

0.23 c
0.23
-

ศก.201-1-2
0.547  a
0.174
0.250

1.75 a
0.54
0.80

0.44 b
0.18
-

เกษตรกร
0.533  a
0.156
0.279

1.71 a
0.56
0.89

0.49 b
0.21
-

F-test
**
ns
ns

**
ns
ns

**
ns
-

CV (%)
18.7
36.1
16.8

18.8
36.1
16.8

18.9
36.9
-

















ในสดมภ์เดียวกัน  ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกัน  ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  95 % โดยวิธี DMRT
ตารางแสดง น้ำหนักสดต่อผล จำนวนผลต่อต้น และน้ำหนักต่อต้นพริกยอดสนที่ไร่เกษตรกร จ.ศรีสะเกษ             ปี 2553-2554
สายพันธุ์
น้ำหนักสดต่อผล (กรัม)
จำนวนผลต่อต้น (กรัม)
น้ำหนักต่อต้น (กก.)
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2553
ปี 2554
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
ศก.119-1-3
1.62 b
1.61
1.66 b
1.63
283.39
543.53 a
512.39
380.06
0.34
0.43 a
0.59
0.46 ab
ศก.123-1-1
1.84 ab
1.84
1.88 a
1.81
209.81
434.93 ab
503.58
358.57
0.25
0.43 a
0.54
0.37 bc
ศก.144-1-1
1.85 ab
1.74
1.87 a
1.87
275.77
512.35 ab
483.28
375.15
0.36
0.51 a
0.60
0.51 a
ศก.165-1-1
1.96 a
1.92
1.98 a
1.89
203.95
422.09 b
462.03
352.55
0.24
0.44 a
0.52
0.41 abc
เกษตรกร
2.03 a
1.94
1.97 a
1.94
205.03
308.16 c
510.60
287.17
0.29
0.33 b
0.58
0.35 c
F-test
*
ns
*
ns
ns
**
ns
ns
ns
*
ns
*
CV (%)
7.8
8.9
7.1
7.9
25.7
16.3
10.1
13.1
33.3
15
10.6
16.2
ในสดมภ์เดียวกัน  ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกัน  ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  95 % โดยวิธี DMRT
ตารางแสดง น้ำหนักสดต่อไร่ ผลผลิตแห้งต่อไร่ และเปอร์เซ็นต์น้ำหนักแห้งพริกยอดสนที่ไร่เกษตรกร จ.ศรีสะเกษ ปี 2553-2554
สายพันธุ์
น้ำหนักสดต่อไร่ (ตัน)
น้ำหนักแห้งต่อไร่ (ตัน)
น้ำหนักแห้ง (%)
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2553
ปี 2554
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
ศก.119-1-3
0.97
1.10
1.65
1.45
0.29
0.33
0.44
0.41
30.25 a
29.42
26.83
28.89
ศก.123-1-1
0.60
1.04
1.43
1.11
0.18
0.31
0.40
0.33
30.00 ab
30.16
28.04
29.59
ศก.144-1-1
0.78
1.08
1.65
1.48
0.24
0.33
0.42
0.37
30.33 a
29.98
25.53
25.74
ศก.165-1-1
0.63
1.04
1.47
1.24
0.18
0.30
0.39
0.39
29.09 ab
28.69
26.40
31.70
เกษตรกร
0.79
0.73
1.71
0.99
0.23
0.23
0.45
0.29
28.71 b
27.29
26.27
29.34
F-test
ns
ns
ns
ns
ns
ns
ns
ns
*
ns
ns
ns
CV (%)
37.8
23.7
9.5
18.9
36.9
17.8
10.2
15.1
2.7
4.7
4.4
13.1
ในสดมภ์เดียวกัน  ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกัน  ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  95 % โดยวิธี DMRT
ตารางสรุปการประเมินความพึงพอใจพันธุ์พริกยอดสนที่ไร่เกษตรกรจังหวัดศรีสะเกษ ปี 2554
สายพันธุ์
ระดับความคิดเห็น
หมายเหตุ
4
3
2
1
0
ศก.119-1-3
55.83
28.33
12.92
2.92
0.00
4 = พอใจมากที่สุด
ศก.123-1-1
51.25
36.25
10.00
2.50
0.00
3 = พอใจมาก
ศก.144-1-1
42.92
36.25
16.67
4.17
0.00
2 = ปานกลาง
ศก.165-1-1
50.83
35.00
10.83
2.92
0.42
1 = ไม่พอใจ
เกษตรกร
42.92
34.58
18.75
3.75
0.00
0 = ไม่แสดงความคิดเห็น
ตารางแสดง จำนวนผลต่อต้น น้ำหนักสดต่อต้น น้ำหนักสดต่อไร่ และน้ำหนักแห้งต่อไร่พริกยอดสนที่ไร่เกษตรกร จ.นครราชสีมา ปี 2554
สายพันธุ์
จํานวนผลต่อต้น (ผล)
น้ำหนักสดต่อต้น (กก.)
น้ำหนักสดต่อไร่ (ตัน)
น้ำหนักแห้งต่อไร่ (ตัน)
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
แปลง1
แปลง2
ศก.119-1-3
71.6
228.9 b
0.090
0.236
0.29
0.76
0.07
0.12 b
ศก.123-1-1
67.2
247.2 b
0.083
0.334
0.27
1.07
0.07
0.22 a
ศก.144-1-1
65.3
202.2 b
0.087
0.272
0.28
0.87
0.08
0.17 a
ศก.165-1-1
77.7
235.0 b
0.115
0.336
0.37
1.08
0.09
0.22 a
เกษตรกร
81.8
335.2 a
0.106
0.325
0.34
1.04
0.09
0.15 b
F-test
ns
**
ns
ns
ns
ns
ns
**
CV (%)
17.1
16.7
18.4
17.6
18.4
17.6
18.8
19.1
ในสดมภ์เดียวกัน  ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกัน  ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  95 % โดยวิธี DMRT
ตารางแสดง จำนวนผลต่อต้น น้ำหนักสดต่อต้น น้ำหนักสดต่อไร่ และน้ำหนักแห้งต่อไร่พริกยอดสนที่ไร่เกษตรกร จ.ชัยภูมิ ปี 2553-2554
สายพันธุ์
จํานวนผลต่อต้น (ผล)
น้ำหนักสดต่อต้น (กก.)
น้ำหนักสดต่อไร่ (ตัน)
น้ำหนักแห้งต่อไร่ (ตัน)
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2553
ปี 2554
ปี 2553
ปี 2554
ศก.119-1-3
195.0 a
208.0 a
0.190
0.253
0.61
0.81
0.21 a
0.26
ศก.129-1-1
101.0 c
167.0 b
0.126
0.276
0.40
0.88
0.13 b
0.22
ศก.144-1-1
179.0 a
191.0 ab
0.190
0.272
0.61
0.87
0.19 a
0.22
ศก.165-1-1
167.0 ab
184.0 ab
0.200
0.266
0.64
0.85
0.23 a
0.24
เกษตรกร
131.0 bc
208.0 a
0.190
0.302
0.61
0.97
0.20 a
0.27
F-test
**
*
ns
ns
ns
ns
*
ns
CV (%)
17.4
9.9
19.8
12.3
19.8
12.3
19.9
14.9
ในสดมภ์เดียวกัน  ค่าเฉลี่ยที่ตามด้วยตัวอักษรเหมือนกัน  ไม่แตกต่างกันทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น  95 % โดยวิธี DMRT
ตารางแสดง ผลการวิเคราะห์สาร Capsaiciniod พริกยอดสนที่ไร่เกษตรกรจังหวัดศรีสะเกษ
สายพันธุ์
Capsaicin
Dihydrocapsaicin
Capsaicinoids
ppm
SHU
mg/g
ppm
SHU
mg/g
SHU
mg/g
119-1-3
373.82
56,072.65
3.50
146.31
21,947.19
1.37
78,019.85
4.88
123-1-1
606.22
90,932.50
5.68
328.53
49,279.49
3.08
140,212.00
8.76
144-1-1
479.52
71,927.81
4.50
225.07
33,760.54
2.11
105,688.35
6.61
165-1-1
573.87
86,080.20
5.38
257.43
38,614.34
2.41
124,694.54
7.79
เกษตรกร
632.02
94,803.44
5.93
261.25
39,187.06
2.45
133,990.51
8.37
วิเคราะห์โดยหน่วยวิเคราะห์ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ผู้ดำเนินการทดลอง
จิรภา ออสติน เสาวนี เขตสกุล ธวัชชัย นิ่มกิ่งรัตน์ ชูศรี คำลี ศิริลักษณ์ สมนึก
อุดม คำชา ศศิธร ประพรมและพีชณิตดา ธารานุกูล